วันจันทร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2553

แสดงความคิดเห็น

ผมคิดว่าในการใช้ดทรศัพท์เป็นเครื่องสื่อสารเป็นสิ่งที่จำเป็นในทุกวันนี้ของวันรุ่นไทยแต่ต้องใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น การค้นหาข่าวสารที่ทันสมัยในการเรียนการศึกษาการค้นคว้าหาข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆเพื่อนำมาใช้ในชีวิตประจำวันของการศึกษาได้อย่างรวดเร็ว และยังช่วยอำนวยความสะดวกในอนาคตต่อไป


นาย ประวีร์ อกกลั้น ชั้น ป.ว.ส สาขา ช่างยนต์ 1/2

ข่าวสารประจำสัปดาที่ 10

E-journal
การใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์
1. การใช้สิทธิ์ในการใช้วารสารออนไลน์ทั้งฉบับปัจจุบัน (Current issue) และฉบับย้อนหลัง (Back issues) ได้ในกรณีที่บอกรับวารสารฉบับพิมพ์ปัจจุบัน ทั้งนี้ในการเข้าใช้วารสารออนไลน์เหล่านี้อาจมีข้อจากัดในการดาวน์โหลด ( download ) ข้อมูล อาจต้องลงทะเบียนเป็นสมาชิก (register) ของวารสารนั้นๆ ด้วยตนเอง หรือกรณีที่สานักสมัครเป็นสมาชิก ผู้ใช้จาเป็นต้องเข้าใช้โดยผ่านเครือข่ายมหาวิทยาลัย
ที่มา http://www.google.co.th/search?hl=th&safe=off&rlz=1R2ADFA_enTH397&q=%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1+%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2+%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87+%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3+%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B9%8C&revid=489595138&sa=X&ei=aGOgTIjhGY_WvQOjz_mfDQ&ved=0CDEQ1QIoAg
27/09/53

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 9

E-jouranl
บทบรรณาธิการ
วารสารอิเล็กทรอนิกส์ของ สปน. ฉบับนี้ เป็นฉบับที่ ๒ แล้ว ที่ได้จัดทำขึ้น ซึ่งเนื้อหาสาระของบทความที่นำเสนอ ประกอบด้วยเรื่อง ที่รัฐบาลให้ความสำคัญเป็นพิเศษ ได้แก่ งานเฉลิมพระเกียรติเนื่องใน โอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ และเรื่อง 1111 รหัสเดียวสี่ช่องทาง สำหรับบทความอื่นๆ เป็นเรื่องที่ หน่วยงานในสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งจะเป็นประโยชน์กับหน่วยงานราชการ และผู้ที่สนใจทั่วไป โดยเฉพาะ ภาคประชาชน
คณะผู้จัดทำวารสารอิเล็กทรอนิกส์ของ สปน. ต้องการทราบ เสียงสะท้อนจากท่านผู้อ่านทุกท่าน โดยเฉพาะเกี่ยวกับเนื้อหาสาระ หรือ ต้องการให้เพิ่มบทความในส่วนใด ก็ขอได้แจ้งให้ทราบด้วย เพื่อจะได้ ปรับปรุงและแก้ไขวารสารให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้อ่าน ต่อไป
พบกันใหม่ฉบับหน้านะครับ .... สวัสดีครับ
ที่มา http://www.google.co.th/search?hl=th&safe=off&rlz=1R2ADFA_enTH397&q=%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1+%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2+%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87+%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3+%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B9%8C&revid=489595138&sa=X&ei=aGOgTIjhGY_WvQOjz_mfDQ&ved=0CDEQ1QIoAg
27/09/53

แสดงความคิดเห็น

ผมมีความคิดเห็นว่ารัยรุ่สมัยนี้มีความฮือฮากับการใช้โทรศัพท์ ใครไม่มีโทรศัพท์ถือว่าเชยมาก จึงทำให้วัยรุ่นมีโทรศัพท์เกือบทุกคน

กำกับ นายนิรุตม์ ทนได้ ป.ว.ส. ช่างยนต์ 1/2

วันศุกร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2553

นำเสนองาน โปรเจ็กการทำสีรถยนต์

เครื่องมือและอุปกรที่ใช้ในการทำสีรถยนต์
1. ไม้กวนสี
2. แผ่นผสมสี
3. มีดโป๊สีหรือเกรียงโป๊สี
4. แผ่นรองขัด
5. เครื่องมือขัดแบบจานหมุนหรือแบบซิงเกิลแอกชัน
6. เครื่องขัดแบบดับเบิลแอกชัน
7. ปืนเป่าลม
8. ปืนพ่นสี
9. กระดาษติดพ่นสี
10. ปืนยิงซีลเลอร์
11. ถ้วยผสมสี
12. กรวยกรองสี
13. ขาตั้งแขวนพ่นสี
14. เครื่องวัดความหนึด
15. เครื่องพ่นสี
16. ฝากวนสี
17. สูตรผสมสี
18. แผ่นพ่นเทียบสี
19. ตู้อบสี
20. ไฟส่องเทียบสี
21. ปั้มลม
22. ท่อลม
23. อุปกรณ์ปรับแรงดันลม
24. ห้องพ่นสี

ขั้นตอนการทำสีรถยนต์
1.การเตรียมผิวงาน


1.1การกำหนดขอบเขตการเสียหาย
1.2. การใช้ช้อนซ่อมลอยนูนที่เกิดบนผิวงานที่จะซ่อม
1.3. การลอกสีบริเวณพื้นที่เสียหาย
1.4. การขัดลบของผิวสีเดิมบริเวณพื้นที่ที่เสียหาย
1.5. การพ่นสีรองพื้น
1.6. การโป๊สี
1.7 การอบสีโป๊
1.8. การขัดสีโป๊
2. ขั้นตอนการเทียบสีรถยนต์
การเทียบสีกับสีเดิมมีขั้นตอนดังนี้
1. ตรวจเบอร์ของสีที่จะพ่น
2. ผสมสีตามอัตราส่วนจากสี
3. ชั่งน้ำหนักของแม่สีในแต่ละครั้งด้วยเครื่องชั่งน้ำหนัก
4. ใช้ไม้กวนสีป้ายสีลงบนแผ่นเทียบ
5. การพ่นสี
6. การผสมสีที่ไม่มีสูตรผสมสี
3. วิธีการติดกระดาษ
1. วิธีการติดกระดาษบริเวณพ่นสีรองพื้น
2. วิธีการติดกระดาษสำหรับพ่นสีทั้งชิ้น
3. วิธีการติดกระดาษสำหรับการพ่นสีเป็นจุด
4.การพ่นสีทับหน้ารถยนต์
4.1 การเตรียมสีหรือการผสมสี
1. การผสมสีด้วยเครื่องชั่ง
2. การผสมสี ฮาร์ดเดนเนอร์ และทินเนอร์ด้วยไม้กวนสี
4.2 การพ่นสีทับหน้า
4.3 การพ่นซ่อมสีเป็นจุด
5.การขัดเงาสีรถยนต์
5.1 วิธีการขัดเงาสี
1. การตรวจการแห้งของสี
2. การตรวจสอบผิวสี เป็น
3. ตรวจสอบการไกลของเม็ดฝุ่น




สรุป
การทำสีรถยนต์ เป็นการใส่สีรถหรือเป็นการซ่อมแซมส่วนของสีรถที่มีความเสีย เช่น รอยขีด สีแตก สีหมดสภาพ ให้สีรถกลับมามีความเงางามเหมือนเดิม