วันจันทร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2553

แสดงความคิดเห็น

ผมคิดว่าในการใช้ดทรศัพท์เป็นเครื่องสื่อสารเป็นสิ่งที่จำเป็นในทุกวันนี้ของวันรุ่นไทยแต่ต้องใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น การค้นหาข่าวสารที่ทันสมัยในการเรียนการศึกษาการค้นคว้าหาข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆเพื่อนำมาใช้ในชีวิตประจำวันของการศึกษาได้อย่างรวดเร็ว และยังช่วยอำนวยความสะดวกในอนาคตต่อไป


นาย ประวีร์ อกกลั้น ชั้น ป.ว.ส สาขา ช่างยนต์ 1/2

ข่าวสารประจำสัปดาที่ 10

E-journal
การใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์
1. การใช้สิทธิ์ในการใช้วารสารออนไลน์ทั้งฉบับปัจจุบัน (Current issue) และฉบับย้อนหลัง (Back issues) ได้ในกรณีที่บอกรับวารสารฉบับพิมพ์ปัจจุบัน ทั้งนี้ในการเข้าใช้วารสารออนไลน์เหล่านี้อาจมีข้อจากัดในการดาวน์โหลด ( download ) ข้อมูล อาจต้องลงทะเบียนเป็นสมาชิก (register) ของวารสารนั้นๆ ด้วยตนเอง หรือกรณีที่สานักสมัครเป็นสมาชิก ผู้ใช้จาเป็นต้องเข้าใช้โดยผ่านเครือข่ายมหาวิทยาลัย
ที่มา http://www.google.co.th/search?hl=th&safe=off&rlz=1R2ADFA_enTH397&q=%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1+%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2+%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87+%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3+%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B9%8C&revid=489595138&sa=X&ei=aGOgTIjhGY_WvQOjz_mfDQ&ved=0CDEQ1QIoAg
27/09/53

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 9

E-jouranl
บทบรรณาธิการ
วารสารอิเล็กทรอนิกส์ของ สปน. ฉบับนี้ เป็นฉบับที่ ๒ แล้ว ที่ได้จัดทำขึ้น ซึ่งเนื้อหาสาระของบทความที่นำเสนอ ประกอบด้วยเรื่อง ที่รัฐบาลให้ความสำคัญเป็นพิเศษ ได้แก่ งานเฉลิมพระเกียรติเนื่องใน โอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ และเรื่อง 1111 รหัสเดียวสี่ช่องทาง สำหรับบทความอื่นๆ เป็นเรื่องที่ หน่วยงานในสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งจะเป็นประโยชน์กับหน่วยงานราชการ และผู้ที่สนใจทั่วไป โดยเฉพาะ ภาคประชาชน
คณะผู้จัดทำวารสารอิเล็กทรอนิกส์ของ สปน. ต้องการทราบ เสียงสะท้อนจากท่านผู้อ่านทุกท่าน โดยเฉพาะเกี่ยวกับเนื้อหาสาระ หรือ ต้องการให้เพิ่มบทความในส่วนใด ก็ขอได้แจ้งให้ทราบด้วย เพื่อจะได้ ปรับปรุงและแก้ไขวารสารให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้อ่าน ต่อไป
พบกันใหม่ฉบับหน้านะครับ .... สวัสดีครับ
ที่มา http://www.google.co.th/search?hl=th&safe=off&rlz=1R2ADFA_enTH397&q=%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1+%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2+%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87+%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3+%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B9%8C&revid=489595138&sa=X&ei=aGOgTIjhGY_WvQOjz_mfDQ&ved=0CDEQ1QIoAg
27/09/53

แสดงความคิดเห็น

ผมมีความคิดเห็นว่ารัยรุ่สมัยนี้มีความฮือฮากับการใช้โทรศัพท์ ใครไม่มีโทรศัพท์ถือว่าเชยมาก จึงทำให้วัยรุ่นมีโทรศัพท์เกือบทุกคน

กำกับ นายนิรุตม์ ทนได้ ป.ว.ส. ช่างยนต์ 1/2

วันศุกร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2553

นำเสนองาน โปรเจ็กการทำสีรถยนต์

เครื่องมือและอุปกรที่ใช้ในการทำสีรถยนต์
1. ไม้กวนสี
2. แผ่นผสมสี
3. มีดโป๊สีหรือเกรียงโป๊สี
4. แผ่นรองขัด
5. เครื่องมือขัดแบบจานหมุนหรือแบบซิงเกิลแอกชัน
6. เครื่องขัดแบบดับเบิลแอกชัน
7. ปืนเป่าลม
8. ปืนพ่นสี
9. กระดาษติดพ่นสี
10. ปืนยิงซีลเลอร์
11. ถ้วยผสมสี
12. กรวยกรองสี
13. ขาตั้งแขวนพ่นสี
14. เครื่องวัดความหนึด
15. เครื่องพ่นสี
16. ฝากวนสี
17. สูตรผสมสี
18. แผ่นพ่นเทียบสี
19. ตู้อบสี
20. ไฟส่องเทียบสี
21. ปั้มลม
22. ท่อลม
23. อุปกรณ์ปรับแรงดันลม
24. ห้องพ่นสี

ขั้นตอนการทำสีรถยนต์
1.การเตรียมผิวงาน


1.1การกำหนดขอบเขตการเสียหาย
1.2. การใช้ช้อนซ่อมลอยนูนที่เกิดบนผิวงานที่จะซ่อม
1.3. การลอกสีบริเวณพื้นที่เสียหาย
1.4. การขัดลบของผิวสีเดิมบริเวณพื้นที่ที่เสียหาย
1.5. การพ่นสีรองพื้น
1.6. การโป๊สี
1.7 การอบสีโป๊
1.8. การขัดสีโป๊
2. ขั้นตอนการเทียบสีรถยนต์
การเทียบสีกับสีเดิมมีขั้นตอนดังนี้
1. ตรวจเบอร์ของสีที่จะพ่น
2. ผสมสีตามอัตราส่วนจากสี
3. ชั่งน้ำหนักของแม่สีในแต่ละครั้งด้วยเครื่องชั่งน้ำหนัก
4. ใช้ไม้กวนสีป้ายสีลงบนแผ่นเทียบ
5. การพ่นสี
6. การผสมสีที่ไม่มีสูตรผสมสี
3. วิธีการติดกระดาษ
1. วิธีการติดกระดาษบริเวณพ่นสีรองพื้น
2. วิธีการติดกระดาษสำหรับพ่นสีทั้งชิ้น
3. วิธีการติดกระดาษสำหรับการพ่นสีเป็นจุด
4.การพ่นสีทับหน้ารถยนต์
4.1 การเตรียมสีหรือการผสมสี
1. การผสมสีด้วยเครื่องชั่ง
2. การผสมสี ฮาร์ดเดนเนอร์ และทินเนอร์ด้วยไม้กวนสี
4.2 การพ่นสีทับหน้า
4.3 การพ่นซ่อมสีเป็นจุด
5.การขัดเงาสีรถยนต์
5.1 วิธีการขัดเงาสี
1. การตรวจการแห้งของสี
2. การตรวจสอบผิวสี เป็น
3. ตรวจสอบการไกลของเม็ดฝุ่น




สรุป
การทำสีรถยนต์ เป็นการใส่สีรถหรือเป็นการซ่อมแซมส่วนของสีรถที่มีความเสีย เช่น รอยขีด สีแตก สีหมดสภาพ ให้สีรถกลับมามีความเงางามเหมือนเดิม

วันเสาร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2553

e Journals นายชัชวาลย์ เอ็นมาก

http://www.mediafire.com/?6uys212ozebh8o2

ส่งงาน opac นายประวีร์ อกกลั้น

http://www.mediafire.com/?3037ppfjz6fe0jp

ส่งงาน opac นายชัชวาลย์ เอ็นมาก

http://www.mediafire.com/?3tfe2vb783pgijp

opac นิรุตม์ ทนได้

http://www.mediafire.com/?3orz3uogec9r66t

วันศุกร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2553

E-book ประวีร์ อกกลั้น

http://www.ebook.com/ebooks/Fiction/The_Cookbook_Collector
http://www.ebook.com/ebooks/Fantasy_Fiction/The_Reluctant_Mage

E-journals ประวีร์ อกกลั้น

http://www.mediafire.com/?ds7daaytgchh6b9

E-book ชัชวาล เอ็นมาก

http://www.ebook.com/ebooks/Fiction/Mr._Peanut
http://www.ebook.com/ebooks/Biography/Like_Me

E-book นิรุตม์ ทนได้

http://www.ebook.com/ebooks/Travel/Amazing_People_of_New_York
http://www.ebook.com/ebooks/Fiction/Black_Sun

E-journals นิรุตม์ ทนได้

http://www.mediafire.com/?r8981abnis6i4h6

วันพุธที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 8

E-journal SCOPUS ฐานข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขป ครอบคลุมเนื้อหาทุกสาขาวิชา ยกเว้นมนุษยศาสตร์ รูปแบบการสืบค้นคล้ายกับฐานข้อมูลScience Direct เนื่องจากเป็นฐานข้อมูลของ Elsevier Science เช่นกัน เพียงแต่ Scopus จะไม่มีเอกสารฉบับเต็ม แต่จะมีการเชื่อมโยงให้ หากวารสารที่ค้นพบใน Scopus เป็นวารสารที่สำนักหอสมุด บอกรับในรูปของ E-journal ซึ่งอาจเป็น Science Direct, Springer Link, Blackwell เป็นต้น เมื่อคลิก Link ดังกล่าวแล้วจะสามารถเรียก Full-text ได้ ในส่วน Login และ Password ผู้ใช้บริการสามารถลงทะเบียนฟรี หรือหากได้ลงทะเบียนกับ Science Direct ไว้แล้ว สามารถใช้ Login และ Password ชุดดังกล่าวกับ Scopus ได้เลยโดยไม่ต้องลงทะเบียนใหม่ ซึ่งรหัสผ่านดังกล่าวจะใช้สำหรับการใช้บริการพิเศษต่างๆของฐานข้อมูล เช่นการบันทึกคำค้น การเตือน (Alerts) เท่านั้น ไม่ได้ใช้เพื่อเรียกเอกสารฉบับเต็ม
แหล่งที่มา http://www.lib.ku.ac.th/index.php/e-databases 02/09/53

วันจันทร์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2553

วารสารอิเล็กเทรอนิกส์ ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 7

ฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่สำนักวิทยบริการให้บริการ
1. E-Journal สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้แก่

1.1 ฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ Project Muse

สืบค้นที่ http://muse.jhu.edu/search/search.cgi

ครอบคลุมเนื้อหา: วารสารประมาณ 300 ชื่อ สาขาวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ (Arts, Humanities และ Social Science) ของ Johns Hopkins University Press

ลักษณะข้อมูล: ข้อมูลบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม ตั้งแต่ปี 1996 – ปัจจุบัน

อายุการใช้งาน : 1 ต.ค. 2551 - 31 ธ.ค. 2552

1.2 ฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ Oxford Journals Online

สืบค้นที่ http://www.oxfordjournals.org

ครอบคลุมเนื้อหา: วารสารสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ของ Oxford University Press (OUP) จำนวนประมาณ 113 ชื่อ

ลักษณะข้อมูล: ข้อมูลบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม ตั้งแต่ปี 1996 – ปัจจุบัน

อายุการใช้งาน : 1 ต.ค. 2551 - 31 ธ.ค. 2552

1.3 Emerald Management Xtra

สืบค้นที่ http://www.emeraldinsight.com/ft

ครอบคลุมเนื้อหา: วารสารทางด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ โดยเน้นด้านเศรษฐศาสตร์และธุรกิจ วิทยาการจัดการ บรรณารักษศาสตร์ การบริหารและทรัพยากรมนุษย์ การบริหารการศึกษา วิศวกรรมอุตสาหการ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ของ MCB University Press จำนวน 135 ชื่อ ให้บทความเต็มตั้งแต่ปี

ลักษณะข้อมูล: ข้อมูลบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม ตั้งแต่ปี 1994 – ปัจจุบัน

อายุการใช้งาน : 1 ต.ค. 2551 - 31 ธ.ค. 2552

1.4 JSTOR The Scholarly Journal Archive : Business

สืบค้นที่ http://www.jstor.org/

เป็นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้านธุรกิจ การบริหารจัดการ การเงิน การคลัง การธนาคาร เศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์ ให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมและเอกสารฉบับเต็มของวารสาร นิตยสาร ตั้งแต่ปี 1892-2000

1.5 Cambridge Journals Online

สืบค้นที่ http://www.journals.cambridge.org/

เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ได้แก่ วิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี, วิทยาศาสตร์การแพทย์, มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ให้ข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ จากสำนักพิมพ์ Cambridge University

1.6 Blackwell Journals Online

สืบค้นที่ http://www3.interscience.wiley.com/

เป็นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้ข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของวารสารจำนวน 700 ชื่อ ของสำนักพิมพ์ Blackwell Publishing ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ได้แก่ เกษตรศาสตร์ คณิตศาสตร์ สถิติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กฎหมาย วิทยาศาสตร์การแพทย์ การเงิน บัญชี ธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ให้ข้อมูลเอกสารฉบับเต็มย้อนหลัง 5 ปี นับจากปีปัจจุบัน (โดยประมาณ)

1.7 Wilson OmniFile: Full Text Select

สืบค้นที่ http://202.28.92.194/hwwmds/main.nsp?view=HWWMDS

เป็นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้ข้อมูลดรรชนีและสาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม ของบทความวารสารและสิ่งพิมพ์ ครอบคลุมทุกสาขาวิชาจำนวน 1,420 ชื่อ ตั้งแต่ปี 1994-ปัจจุบัน

1.8 H.W.Wilson [บอกรับโดย สกอ.]

สืบค้นที่ http://vnweb.hwwilsonweb.com/hww/jumpstart.jhtml

เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ครอบคลุมสาขาวิชา Applied Science and Technology, Art, Business, Education, General Science, Humanities, Library and Information และ Social Sciences จากวารสาร 244 ชื่อ ให้ข้อมูลบรรณานุกรมตั้งแต่ปี 1984-ปัจจุบัน บรรณานุกรมและสาระสังเขป ตั้งแต่ปี 1994-ปัจจุบัน และเอกสารฉบับเต็ม ตั้งแต่ปี 1996-ปัจจุบัน

1.9 Annual Reviews

สืบค้นที่ http://arjournals.annualreviews.org

เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์กายภาพ และสังคมศาสตร์ ประมาณ 30 สาขาวิชาย่อย ได้แก่ การแพทย์ เภสัชวิทยา การสาธารณสุข วิศวกรรมศาสตร์ พืชศาสตร์ กีฏวิทยา สิ่งแวดล้อม สังคมวิทยา จิตวิทยา วิทยาการคอมพิวเตอร์ ฯลฯ ของสำนักพิมพ์ Annual Reviews ให้ข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของวารสาร จำนวน 37 ชื่อ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 – ปัจจุบัน

1.10 Science Direct [บอกรับโดย สกอ.]

สืบค้นที่ http://www.sciencedirect.com

เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ครอบคลุมทุกสาขาวิชา จำนวนกว่า 1,500 ชื่อ ให้ข้อมูลดรรชนี สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม ของบทความวารสารและ สิ่งพิมพ์ ข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ตั้งแต่ปี 1994-ปัจจุบัน

1.11 LINK (Springer)

สืบค้นที่ http://www.springerlink.com/home/main.mpx

ให้ข้อมูลทางบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม ครอบคลุม สาขาวิชาดังนี้ Chemical Sciences, Economics, Life Sciences, Medicine, Computer Science, Engineering, Geosciences, Mathematics, Physics & Astronomy, Law และ Environmental Sciences



2. E-Journal สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่

2.1 ฐานข้อมูล Science / AAAS

สืบค้นได้ที่ http://www.sciencemag.org/

เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ Science/AAAS ของ American Association for the Advancement of Science ด้านวิทยาศาสตร์สาขาต่างๆ ได้แก่ Science & Policy, Cell Biology & Biochemistry, Molecular Biology & Genetic, Medicine/Diseases, Immunology, Chemistry, Geochemistry/Geophysic ตั้งแต่ปีที่ 275 ฉบับที่ 5296 (3 January 1997) เป็นต้นมา และเข้าใช้ ScienceNOW เป็นข่าวสารออนไลน์ด้านวิทยาศาสตร์ (Breaking Stories from Science's News Staff)

อายุการใช้งาน : 20 กันยายน 2551 ถึง 30 กันยายน 2552

2.2 ProQuest Agriculture Journals

สืบค้นที่ http://www.bellhowell.infolearning.com/pqdauto

เป็นฐานข้อมูลดรรชนีและสาระสังเขปของ วารสาร หนังสือ วิทยานิพนธ์ทางการพยาบาล รายงานการประชุมด้านอาหารและโภชนาการ พืชศาสตร์ เกษตรกรรม ป่าไม้ เศรษฐศาสตร์เกษตร ประมง สัตว-ศาสตร์ สัตวแพทยศาสตร์ อาหารและโภชนาการ จำนวน 263 ชื่อ เป็นวารสารฉบับเต็ม (full text) 225 ชื่อ จากปี 1998 เป็นต้นมา

อายุการใช้งาน : กรกฎาคม2550 ถึง 30 มิถุนายน 2552

2.3 APS (Online Journal American Physical Society)

สืบค้นที่ http://publish.aps.org/

ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขป และเอกสาร Full text ของวารสารด้าน ฟิสิกส์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง จัดทำโดย Journal American Physical Society

2.4 ASCE The American Society of Civil Engineering

สืบค้นที่ http://www.pubs.asce.org/journals/jrns.html

เป็นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้ข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของวารสารชั้นนำทางด้านวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering) จำนวน 30 ชื่อ ตั้งแต่ปีตั้งแต่ปี 1995 – ปัจจุบัน

2.5 ASME /Technical Journals

สืบค้นที่ http://www.asmedl.org/journals/doc/ASMEDL-home/jrnls/

เป็นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้ข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของวารสารชั้นนำทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล ตั้งแต่ปี 2000 - ปัจจุบัน

2.6 Annual Reviews

สืบค้นที่ http://arjournals.annualreviews.org

เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์กายภาพ และสังคมศาสตร์ ประมาณ 30 สาขาวิชาย่อย ได้แก่ การแพทย์ เภสัชวิทยา การสาธารณสุข วิศวกรรมศาสตร์ พืชศาสตร์ กีฏวิทยา สิ่งแวดล้อม สังคมวิทยา จิตวิทยา วิทยาการคอมพิวเตอร์ ฯลฯ ของสำนักพิมพ์ Annual Reviews ให้ข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของวารสาร จำนวน 37 ชื่อ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 – ปัจจุบัน

2.7 Nature Online

สืบค้นที่ http://www.nature.com/

วารสารออนไลน์ชื่อ Nature ซึ่งเป็นวารสารชั้นนำทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ และ วิทยาศาสตร์กายภาพ ให้ข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของวารสารนี้ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1997 - ปัจจุบัน

2.8 ACM Digital Library

สืบค้นที่ http://portal.acm.org/dl.cfm

เป็นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ทางด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ให้ข้อมูลเอกสารฉบับเต็มกว่า 300 ชื่อ จากวารสาร นิตยสาร รายงานความ ก้าวหน้า เอกสารการประชุม และข่าวสาร ตั้งแต่ปี 1960-ปัจจุบัน

2.9 ACS Publications

สืบค้นที่ http://pubs.acs.org

เป็นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้านเคมีและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ให้ข้อมูลบรรณานุกรม สาระสังเขปและเอกสารฉบับเต็มของวารสารจากสำนักพิมพ์ American Chemical Socity จำนวน 24 ชื่อ ให้ข้อมูลฉบับเต็มย้อนหลัง 5 ปี นับจากปีปัจจุบัน (โดยประมาณ)

2.10 AIP (Online Journal Publishing Service)

สืบค้นที่ http://library.kku.ac.th/aip.html

เป็นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้านฟิสิกส์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขป และเอกสารFull text ของวารสาร จัดทำโดย American Institute of Physics จำนวน 10 ชื่อ

2.11 IEEE/IEE Electronic Library Online [บอกรับโดย สกอ.]

สืบค้นที่ http://ieeexplore.ieee.org/Xplore/DynWel.jsp

เป็นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้านวิศวกรรม ไฟฟ้า และสาขาที่เกี่ยวข้อง ให้ข้อมูลบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็มของ บทความ วารสาร รายงานการประชุม และเอกสารมาตรฐาน

2.12 LINK (Springer)

สืบค้นที่ http://www.springerlink.com/home/main.mpx

เป็นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ครอบคลุมสาขาวิชาดังนี้ Chemical Sciences, Economics, Life Sciences, Medicine, Computer Science, Engineering, Geosciences, Mathematics, Physics & Astronomy, Law และ Environmental Sciences ให้ข้อมูลทางบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม ให้ข้อมูลฉบับเต็มย้อนหลัง 5 ปี นับจากปีปัจจุบัน (โดยประมาณ)

2.13 Wilson OmniFile: Full Text Select

สืบค้นที่ http://202.28.92.194/hwwmds/main.nsp?view=HWWMDS

เป็นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้ข้อมูลดรรชนีและสาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม ของบทความวารสารและสิ่งพิมพ์ ครอบคลุมทุกสาขาวิชาจำนวน 1,420 ชื่อ ตั้งแต่ปี 1994-ปัจจุบัน

2.14 Blackwell Journals Online

สืบค้นที่ http://www3.interscience.wiley.com/

เป็นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้ข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของวารสารจำนวน 700 ชื่อ ของสำนักพิมพ์ Blackwell Publishing ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ได้แก่ เกษตรศาสตร์ คณิตศาสตร์ สถิติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กฎหมาย วิทยาศาสตร์การแพทย์ การเงิน บัญชี ธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ให้ข้อมูลเอกสารฉบับเต็มย้อนหลัง 5 ปี นับจากปีปัจจุบัน (โดยประมาณ)

2.15 Cambridge Journals Online

สืบค้นที่ http://www.journals.cambridge.org/

เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ได้แก่ วิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี, วิทยาศาสตร์การแพทย์, มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ให้ข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ จากสำนักพิมพ์ Cambridge University

2.16 H.W.Wilson [บอกรับโดย สกอ.]

สืบค้นที่ http://vnweb.hwwilsonweb.com/hww/jumpstart.jhtml

เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ครอบคลุมสาขาวิชา Applied Science and Technology, Art, Business, Education, General Science, Humanities, Library and Information และ Social Sciences จากวารสาร 244 ชื่อ ให้ข้อมูลบรรณานุกรมตั้งแต่ปี 1984-ปัจจุบัน บรรณานุกรมและสาระสังเขป ตั้งแต่ปี 1994-ปัจจุบัน และเอกสารฉบับเต็ม ตั้งแต่ปี 1996-ปัจจุบัน

2.17 Science Direct [บอกรับโดย สกอ.]

สืบค้นที่ http://www.sciencedirect.com

เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ครอบคลุมทุกสาขาวิชา จำนวนกว่า 1,500 ชื่อ ให้ข้อมูลดรรชนี สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม ของบทความวารสารและ สิ่งพิมพ์ ข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ตั้งแต่ปี 1994-ปัจจุบัน



3. E-Journal สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้แก่

3.1 ฐานข้อมูล CINAHL with Full Text

สืบค้นที่ http://search.ebscohost.com/login.aspx?authtype=ip

เป็นฐานข้อมูลดรรชนีและสาระสังเขปของ วารสาร หนังสือ วิทยานิพนธ์ ทางการพยาบาล รายงานการประชุม มาตรฐานการปฏิบัติงาน และให้วารสารฉบับเต็มประมาณ 520 ชื่อเรื่อง ซึ่งเป็นวารสารสำคัญด้านพยาบาลศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่จัดพิมพ์โดย the National League for Nursing (NLN) และ the American Nurses' Association (ANA) เช่น Journal of Nursing Measurement, Journal of Nursing Education และ Journal of Nursing Management และสาขาที่เกี่ยวข้องกว่า 17 สาขาได้แก่ Biomedicine, health sciences, alternative/complementary medicine, consumer health เป็นต้น สามารถใช้ข้อมูลย้อนหลังได้ถึงปี ค.ศ. 1982

อายุการใช้งาน : กรกฎาคม 2550 ถึง 30 มิถุนายน 2552

3.2 Critical Reviews in Oralbiology & Medicine [บอกรับโดยห้องสมุดคณะทันตแพทยศาสตร์]

สืบค้นที่ http://crobm.iadrjournals.org/

ให้ข้อมูลทางบรรณานุกรม สาระสังเขป ตั้งแต่ปี 1990-2001 และเอกสารฉบับเต็ม ตั้งแต่ปี 2002 - 2004 ครอบคลุมสาขาชีววิทยาช่องปาก ทันตแพทยศาสตร์ และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง

3.3 Cleft Palate Craniofacial Journal [บอกรับโดยห้องสมุดคณะทันตแพทยศาสตร์]

สืบค้นที่ http://cpcj.allenpress.com/cpcjonline/?request=get-archive

เป็นวารสารอิเล็กทรอนิกส์ฉบับเต็มทางด้านทันตแพทยศาสตร์ ตั้งแต่ปี 1990 – 2006

3.4 British Dental Journal [บอกรับโดยห้องสมุดคณะทันตแพทยศาสตร์]

สืบค้นที่ www.nature.com/bdj/

เป็นวารสารอิเล็กทรอนิกส์ฉบับเต็มทางด้านทันตแพทยศาสตร์ ตั้งแต่ปี 1999 – 2006

3.5 Clinical infectious diseases ปี 2004 [บอกรับโดยห้องสมุดคณะทันตแพทยศาสตร์]

สืบค้นที่ http://www.journals.uchicago.edu/CID/home.html

เป็นวารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางด้าน microbiology; a regular AIDS/TB Commentary; sections covering medical and legal issues and managed care symposia; time-saving review articles และสาขาที่เกี่ยวข้อง

คลิกเพื่อดู username และ password http://10.80.10.193/e-journal/loginname.html

3.6 ProQuest Medical Library [บอกรับโดยห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์]

สืบค้นที่ http://www.bellhowell.infolearning.com/pqdauto

เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ด้านการแพทย์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ให้ข้อมูลดรรชนี สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม (Full text) ที่จัดทำโดย UMI ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1994-ปัจจุบัน

3.7 Blackwell Journals Online

สืบค้นที่ http://www3.interscience.wiley.com/

เป็นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้ข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของวารสารจำนวน 700 ชื่อ ของสำนักพิมพ์ Blackwell Publishing ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ได้แก่ เกษตรศาสตร์ คณิตศาสตร์ สถิติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กฎหมาย วิทยาศาสตร์การแพทย์ การเงิน บัญชี ธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ให้ข้อมูลฉบับเต็ม ย้อนหลัง 5 ปี นับจากปีปัจจุบัน (โดยประมาณ)

3.8 Wilson OmniFile: Full Text Select

สืบค้นที่ http://202.28.92.194/hwwmds/main.nsp?view=HWWMDS

เป็นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้ข้อมูลดรรชนีและสาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม ของบทความวารสารและสิ่งพิมพ์ ครอบคลุมทุกสาขาวิชาจำนวน 1,420 ชื่อ ตั้งแต่ปี 1994-ปัจจุบัน

3.9 Annual Reviews

สืบค้นที่ http://arjournals.annualreviews.org

เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์กายภาพ และสังคมศาสตร์ ประมาณ 30 สาขาวิชาย่อย ได้แก่ การแพทย์ เภสัชวิทยา การสาธารณสุข วิศวกรรมศาสตร์ พืชศาสตร์ กีฏวิทยา สิ่งแวดล้อม สังคมวิทยา จิตวิทยา วิทยาการคอมพิวเตอร์ ฯลฯ ของสำนักพิมพ์ Annual Reviews ให้ข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของวารสาร จำนวน 37 ชื่อ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 – ปัจจุบัน

3.10 Cambridge Journals Online

สืบค้นที่ http://www.journals.cambridge.org/

เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ได้แก่ วิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี, วิทยาศาสตร์การแพทย์, มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ให้ข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ จากสำนักพิมพ์ Cambridge University

3.11 Science Direct [บอกรับโดย สกอ.]

สืบค้นที่ http://www.sciencedirect.com

เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ครอบคลุมทุกสาขาวิชา จำนวนกว่า 1,500 ชื่อ ให้ข้อมูลดรรชนี สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม ของบทความวารสารและ สิ่งพิมพ์ ข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ตั้งแต่ปี 1994-ปัจจุบัน

3.12 LINK (Springer)

สืบค้นที่ http://www.springerlink.com/home/main.mpx

ให้ข้อมูลทางบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม ครอบคลุม สาขาวิชาดังนี้ Chemical Sciences, Economics, Life Sciences, Medicine, Computer Science, Engineering, Geosciences, Mathematics, Physics & Astronomy, Law และ Environmental Sciences



ที่มาhttp://home.kku.ac.th/tyuwad/ElectronicDB/EJournallist.htm

วารสารอิเล็กเทรอนิกส์ ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 6

Posts Tagged ‘ศูนย์กลางวารสารอิเล็กทรอนิกส์’

เครือข่ายความร่วมมือของโอไฮโอที่เรียกว่า OhioLINK มีวิวัฒนาการมาจากความร่วมมือของเครือข่ายห้องสมุดอุดมศึกษาระดับวิทยาลัยของโอไฮโอที่เรียกว่า OCLC (Ohio College Library Consortium) ซึ่งเริ่มโครงการในปี ค.ศ. 1971 มาถึงปัจจุบันประมาณ 38 ปี OCLC มีการเริ่มโครงการความร่วมมือโครงการแรก คือ การทำบัตรรายการร่วมกัน (Shared Cataloging) การบริการขยายจากภายในรัฐออกนอกรัฐโอไฮโอ ต่อมาโครงการการยืมระหว่างห้องสมุด (Interlibrary Loan) จากรูปแบบเดิมเป็นการยืมในรูปแบบอัตโนมัติ OCLC ขยายตัวรวดเร็วมากจากระดับท้องถิ่น เป็นระดับชาติและระดับนานาชาติ และไม่สามารถที่จะให้บริการความต้องการพื้นฐาน ของผู้ใช้บริการในโอไฮโอในเรื่องการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันได้

ค.ศ.1987 Ohio Board of Regents ได้ให้งบประมาณสนับสนุนการดำเนินงานแคตตาลอคอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อห้องสมุดทั่วรัฐโอไฮโอ OhioLINK จึงเกิดขึ้นแตกตัวมาจาก OCLC ค.ศ. 1990 OhioLINK และ Innovative Interfaces, Inc. (III) ได้พัฒนาศูนย์กลางบัตรรายการ (แคตตาลอก) ระบบการยืม-คืนร่วมกัน และ 4 ฐานข้อมูลจาก UMI

ค.ศ. 1992 6 ห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐได้ติดตั้งระบบ OhioLINK ศูนย์กลางบัตรรายการได้เริ่มดำเนินการ

ทศวรรษ 1990 – ต้นทศวรรษ 2000 มีสมาชิกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาของรัฐทั้งหมด มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยเอกชน ห้องสมุดประจำรัฐโอไฮโอ ห้องสมุดประชาชนขนาดใหญ่บางแห่ง และห้องสมุดโรงเรียนขนาดใหญ่บางแห่ง เข้าร่วมเครือข่าย

ค.ศ. 1996 OhioLINK ให้บริการผ่านระบบ WWW (World Wide Web) ค.ศ. 1998 OhioLINK เป็นศูนย์กลางวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ค.ศ. 2000 เป็นศูนย์กลางมีเดียดิจิทัล ค.ศ. 2002 เป็นศูนย์กลางวิทยานิพนธ์และปริญญานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ ค.ศ. 2006 เป็นแหล่งรวมทรัพยากรดิจิทัล และปี ค.ศ. 2008 เป็นศูนย์กลางหนังสืออิเล็กทรอนิกส์

สมาชิกของ OhioLINK ต้นปี 2010 มีห้องสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย 88 แห่ง เป็นห้องสมุดมหาวิทยาลัยวิจัย (รัฐ) 6 แห่ง วิทยาลัยเอกชน 49 แห่ง และวิทยาลัยเทคนิคกับวิทยาลัยชุมชน 23 แห่ง ห้องสมุดประจำรัฐโอไฮโอ ห้องสมุดประชาชนขนาดใหญ่ 2 แห่ง คือ Cuyahoga Public Library และ Westerville Public Library และห้องสมุดโรงเรียน 1 แห่ง คือ Upper Arlington High School

โปรแกรมสำคัญๆ ของ OhioLINK มีดังนี้
1. ศูนย์กลางบัตรรายการ
2. ฐานข้อมูลวิจัย
3. ศูนย์กลางวารสารอิเล็กทรอนิกส์ (EJC)
4. ศูนย์กลางมีเดียดิจิทัล (DMC)
5. ศูนย์กลางหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (EBC)
6. ศูนย์กลางวิทยานิพนธ์และปริญญานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ (ETD)

จำนวนทรัพยากรสารสนเทศ
1. ทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภททั้งหมด 48 ล้านรายการ
2. 11.5 ล้านชื่อเรื่อง
3. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 12,000 รายการ
4. บทความอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน หลายล้าน บทความ
5. ฐานข้อมูลวิจัย 140 ฐานข้อมูล
6. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 55,000 รายการ
7. วิทยานิพนธ์และปริญญานิพนธ์ของนักศึกษาโอไฮโอ 19,500 รายการ

ที่มาhttp://liblog.dpu.ac.th/?tag=%E0%B8%A8%E0%B8%B9%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%97

ส่งงานวารสารอิเล็กเทรอนิกส์ ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 5

รูปแบบของวารสารอิเล็กทรอนิกส์

วารสารอิเล็กทรอนิกส์แบ่งเป็น 3 รูปแบบ คือ

1. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ในรูปของฐานข้อมูลระบบออนไลน์ (Online Based Electronic Journal) เป็นวารสารเนื้อหาฉบับเต็มที่สามารถสืบค้นข้อมูลด้วยระบบออนไลน์จากฐานข้อมูลพาณิชย์ โดยผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลของผู้ผลิตหรือแหล่งผลิตได้ด้วยการเชื่อมตรง (On-line)

2. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ในรูปฐานข้อมูลซีดี-รอมฉบับเต็ม (CD-ROM Electronic) เป็นเทคโนโลยีการจัดเก็บ บันทึกข้อมูลในรูปดิจิตอล จัดเป็นสื่อประเภทออปติคอล (Optical media) ที่ใช้แสงเลเซอร์ในการอ่านและบันทึกข้อมูล ซีดี-รอมเป็นสื่อบันทึกข้อมูลชนิดสื่อผสมหรือมัลติมีเดีย (Multimedia) ที่ใช้บันทึกข้อมูลได้ทั้งตัวอักษร ตัวเลข ข้อความ ภาพ สัญลักษณ์ และเสียง

ปัจจุบันวารสารอิเล็กทรอนิกส์ประเภทนี้ มักจัดพิมพ์ควบคู่ไปกับวารสารที่เป็นสิ่งพิมพ์และมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว กล่าวคือ ในปี ค.ศ. 1996 มีวารสารอิเล็กทรอนิกส์ในรูปซีดี-รอม จำนวน 1,963 ชื่อ และในปี ค.ศ. 1998 เพิ่มขึ้นเป็น 2,903 ชื่อ (Ulrich International Perildical Directory 1998 : vii) และผู้ผลิตวารสารอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบนี้ก็กำลังเพิ่มผลผลิตผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อให้สามารถส่งและเผยแพร่สารนิเทศไปยังที่ต่าง ๆ ทั้งใกล้และไกลได้อีกด้วย

3. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบเครือข่าย (Network Electronic Journals) เป็นวารสารในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฉบับเต็มที่เผยแพร่ และให้บริการในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ปัจจุบันวารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่พบในระบบเครือข่าย แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

3.1 วารสารที่มีการเสนอเนื้อหาในลักษณะบทความ ข้อมูลในแต่ละฉบับจะประกอบด้วยบทความจากวารสารต่าง ๆ ซึงอาจจะมีการคัดเลือกบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่โดยมีคณะกรรมการพิจารณา และสามารถบอกรับเป็นสมาชิกวารสารได้เช่นเดียวกับวารสารทางวิชาการที่พิมพ์เผยแพร่ในรูปสิ่งพิมพ์ เช่น วารสาร Interpersonal Computing and Technology (IPCT) ซึ่งเป็นวารสารที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดพิมพ์เผยแพร่โดย Center for Teaching and Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา

3.2 วารสารที่มีการเสนอเนื้อหาในลักษณะจดหมายข่าว เป็นวารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถบอกรับเป็นสมาชิกโดยกลุ่มผู้ใช้บริการข่าวสาร (Listserv) ซึ่งจะให้ข่าวสารข้อมูล และมีการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นซึ่งกันและกันในลักษณะไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ และการประชุมทางไกลด้วยคอมพิวเตอร์

ปัจจุบันจำนวนวารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่เผยแพร่ในระบบเครือข่ายทางวิชาการ มีเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมความรู้ข้อมูล ที่ครอบคลุมสารสนเทศสาขาต่าง ๆ มากมาย ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลด้วยการสืบค้นผ่านระบบ OPAC ของห้องสมุด หรือแหล่งบริการสารสนเทศต่าง ๆ ซึ่งผู้ใช้อาจใช้บริการอินเทอร์เน็ต บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ และเวิล์ด ไวด์ เว็บ ตลอดจนบริการจดหมายข่าวที่ให้บริการจากศูนย์จดหมายข่าว เช่น ListServ,Usenet และ Bitnet เป็นต้น โดยผู้สนใจสามารถโอนย้ายข้อมูล (Download) เหล่านั้นจากสำนักพิมพ์ ผู้ผลิต หรือจากระบบเครือข่ายได้โดยตรง นอกจากนั้น ห้องสมุดก็สามารถทำดรรชนีวารสาร หรือรวบรวมรายชื่อวารสารอิเล็กทรอนิกส์ หรือเว็บไซด์ (Website) ต่าง ๆ เพื่อให้บริการผู้ใช้ต่อไป

วิธีการจัดทำวารสารอิเล็กทรอนิกส์

วารสารอิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อในรูปดิจิตอล บทความวารสารจะจัดเก็บเป็นแฟ้ม ข้อมูลคอมพิวเตอร์ในรูปแบบต่าง ๆ และมีกลไกการจัดส่งวารสารหลายรูปแบบ สำหรับการจัดทำวารสารอิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบัน มี 3 วิธี คือ

1. วารสารอิเล็กทรอนิกส์โดยวิธีสแกน (Scanned Journals) เป็นวารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ผลิตขึ้นจากการใช้เครื่องสแกนเนอร์ สแกนบทความจากวารสารที่เป็นสิ่งพิมพ์แล้วจัดเก็บเป็นข้อมูลไว้ในลักษณะแฟ้มรูปภาพ (Image file) ซึ่งสามารถสืบค้นได้จากแฟ้มรูปภาพในลักษณะแฟ้ม PDF และ TIFF เป็นต้น ระบบการจัดการภาพในลักษณะนี้เรียกว่า Document Inaging System โดยระบบจะสแกนภาพเป็นแบบบิตแมปและใช้ซอฟต์แวร์ OCR (Optical Character Recognition) แปลงข้อความที่สแกนให้อยู่ในรูปที่คอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ และป้อนคำสำคัญสำหรับเอกสารแต่ละฉบับลงไปโดยการทำดรรชนีลงไปในภาพ เพื่อให้สามารถเรียกค้นคืนได้ในภายหลัง ตัวอย่างวารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้วิธีการสแกนนี้ ได้แก่ วารสาร J-Stor ของ Mellon Foundation วารสารนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ ผู้สนใจสามารถสืบค้นได้จาก URL http://www.jstor.org

2. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ผลิตจากกระบวนการพิมพ์ (Electronic Journals from Print Production) เป็นการผลิตวารสารที่มีลักษณะคล้ายกับกระบวนการจัดพิมพ์วารสารที่เป็นสิ่งพิมพ์ทั่วไป โดยในระหว่างการพิมพ์บทความนั้นก็จะมีการแก้ไข และส่งข้อมูลไปให้พนักงานจัดพิมพ์ซึ่งจะผนวกเอาตัวอักษรและรูปภาพของบทความเข้าไว้ในแฟ้มที่เรียกว่า PostScript file ให้เป็น PDF และใช้โปรแกรม Adobe Acrobat ในการอ่านแฟ้มข้อมูล PDF ดังกล่าว วารสารที่ได้จากการจัดพิมพ์ลักษณะนี้ เช่น วารสารที่ผลิตโดยสำนักพิมพ์ Academic Press's Electronic Publishing ; UMI ; EBSCO และ IAC เป็นต้น หรือดูรายละเอียดได้ที่ URL http://www.idealibrary.com

3. วารสารในรูปวารสารอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Journal Formats) เป็นวารสารอิเล็กทรอนิกส์ในรูปดิจิตอล และให้บริการบนระบบเครือข่ายอิเทอร์เน็ตเท่านั้น โดยสำนักพิมพ์จะมุ่งให้บริการเชิงพาณิชย์เป็นหลัก เพื่อให้วารสารเหล่านี้เป็นทรัพยากรสารนิเทศส่วนหนึ่ง หรือเป็นบรรณานุกรมของห้องสมุด และให้บริการหน้าสารบัญวารสารในรูปดิจิตอลด้วย การจัดทำวารสารนี้ สำนักพิมพ์จะสร้างเว็บไซด์ของตนเองด้วยภาษา HTML (Hypertext Markup Language) ซึ่งเป็นภาษามาตรฐานของระบบ ASCII ที่สามารถอ่านได้บนเวิล์ด ไวด์ เว็บ สำนักพิมพ์ที่จัดทำวารสารลักษณะนี้ เช่น Elsevier ; academic Press ; Time-Warner ฯลฯ ปัจจุบันสำนักพิมพ์ต่าง ๆ ให้ความสนใจการจัดเก็บและเผยแพร่บทความในลักษณะแฟ้มข้อมูล PDF และ SGML มากเป็นพิเศษ


ที่มาhttp://www.nectec.or.th/schoolnet/library/create-web/10000/generality/10000-12235.html

ส่งงาน e-books

http://www.car2hot.com/news/1694.html

http://www.vrclassiccar.com/2wheel_story/americabike.php

วันจันทร์ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2553

E-books

e-book คือ"หนังสือหรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ที่อ่านสามารถ อ่านผ่านทางอินเตอร์เน็ต หรืออุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์พกพาอื่น ๆ ได้ สำหรับหนังสือ หรือ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ จะมีความหมาย รวมถึงเนื้อหา ที่ถูกดัดแปลง อยู่ในรูปแบบที่สามารถแสดงผลออกมาได้ โดยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ มีลักษณะการ นำเสนอ สอดคล้อง และคล้ายคลึงกับ การอ่านหนังสือทั่วไปในชีวิตประจำวัน แต่จะมี ลักษณะพิเศษ คือ สะดวกและรวดเร็ว ในการค้นหา และผู้อ่าน สามารถอ่าน พร้อม ๆ กันได้โดยไม่ต้องรอให้อีกฝ่ายส่งคืนห้องสมุด เช่นเดียวกับหนังสือในห้องสมุดทั่วไปรูปแบบของ e-bookรูปแบบสิ่งพิมพ์ด้านอิเล็กทรอนิกส์และมัลติมีเดีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลิตภัณฑ์ที่เป็นแผ่นจานข้อมูลเสียง เช่น ซีดีรอม แผ่นซีดีรอมสามารถจัดข้อมูลได้จำนวนมากในรูปแบบของตัวอักษรทั้งลักษณะภาพดิจิตอล ภาพแอนิเมชั่น วีดีโอ ภาพเคลื่อนไหวต่อเนื่อง คำพูด เสียงดนตรี และเสียงอื่น ๆ รูปแบบหนังสือที่อยู่ในรูปแบบดิจิทัล โดยแสดงให้เห็นบนจอคอมพิวเตอร์ไม่บังคับการพิมพ์และการเข้าเล่มรูปแบบของหนังสือที่สามารถนำข้อมูลต่าง ๆ ลงไปจัดเก็บลงในเครื่อง palm ทำให้สามารถที่จะพกพาหนังสือหรือเอกสารจำนวนมากไปอ่าน ณ ที่ใดก็ได้ เพียงแต่นำเครื่อง palm ติดตัวไปเพียงเครื่องเดียวe-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งการเรียนลักษณะนี้ได้มีการนำเข้าสู่ตลาดเมืองไทยในระยะหนึ่งแล้ว เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยซีดีรอม, การเรียนการสอนบนเว็บ (Web-Based Learning), การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ การเรียนด้วยวีดีโอผ่านออนไลน์ เป็นต้น ในปัจจุบัน คนส่วนใหญ่มักจะใช้คำว่า e-Learning กับการเรียน การสอน หรือการอบรม ที่ใช้เทคโนโลยีของเว็บ (Web Based Technology) ในการถ่ายทอดเนื้อหา รวมถึงเทคโนโลยีระบบการจัดการหลักสูตร (Course Management System) ในการบริหารจัดการงานสอนด้านต่างๆ โดยผู้เรียนที่เรียนด้วยระบบ e-Learning นี้สามารถศึกษาเนื้อหาในลักษณะออนไลน์ หรือ จากแผ่นซีดี-รอม ก็ได้ และที่สำคัญอีกส่วนคือ เนื้อหาต่างๆ ของ e-Learning สามารถนำเสนอโดยอาศัยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology) และเทคโนโลยีเชิงโต้ตอบ (Interactive Technology)คำว่า e-Learning นั้นมีคำที่ใช้ได้ใกล้เคียงกันอยู่หลายคำเช่น Distance Learning (การเรียนทางไกล) Computer based training (การฝึกอบรมโดยอาศัยคอมพิวเตอร์ หรือเรียกย่อๆว่า CBT) online learning (การเรียนทางอินเตอร์เนต) เป็นต้น ดังนั้น สรุปได้ว่า ความหมายของ e-Learning คือ รูปแบบของการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยอาศัยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือสื่ออิเลคทรอนิกส์ในการถ่ายทอดเรื่องราว และเนื้อหา โดยสามารถมีสื่อในการนำเสนอบทเรียนได้ตั้งแต่ 1 สื่อขึ้นไป และการเรียนการสอนนั้นสามารถที่จะอยู่ในรูปของการสอนทางเดียว หรือการสอนแบบปฎิสัมพันธ์ได้
ที่มา:
http://www.thaiedunet.com/ten_content/what_elearn.htmlhttp://www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=49164

วันอังคารที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 4

E-Journls

ABI/INFORM ฐานข้อมูลที่รวบรวมข้อมูลทางด้านธุรกิจ การโฆษณา การตลาด เศรษฐศาสตร์ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การเงิน ภาษี คอมพิวเตอร์ มากกว่า 1,100 รายชื่อ รวมถึงสารสนเทศของบริษัทต่าง ๆ อีกมากกว่า 60,000 บริษัท และสามารถสืบค้นบทความฉบับเต็มได้จากวารสารทั่วโลกกว่า 800 รายชื่อ ที่มาhttp://www.google.co.th/

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 3

E-Journls วารสารอิเล็กทรอนิกส์
A to Z เป็นเครื่องมือช่วยอำนวยความสะดวกผู้ใช้บริการในการเข้าใช้วารสารออนไลน์ ผู้ใช้สามารถสืบค้นรายชื่อวารสารภาษาอังกฤษที่มีให้บริการผ่านฐานข้อมูลและวารสารออนไลน์ที่สำนักหอสมุดบอกรับ เช่น ACM, Blackwell,IEEE, Science Direct, Springer LINK เป็นต้น การสืบค้นผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นด้วยคำสำคัญของชื่อวารสาร หรือเรียกดูรายชื่อวารสารตามลำดับอักษร และตามหัวเรื่องของวารสารและเชื่อมโยงไปยังฐานข้อมูลที่มีวารสารชื่อนั้น ๆ ให้บริการ ซึ่งสามารถเลือกอ่านและเรียกดูเอกสารฉบับเต็มได้อย่างรวดเร็ว
ที่มา http://www.google.co.th/

วันอาทิตย์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ข่าวประจำสัปดาห์ที่2

E-Journals1. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ในรูปของฐานข้อมูลระบบออนไลน์ (Online Based Electronic Journal) เป็นวารสารเนื้อหาฉบับเต็มที่สามารถสืบค้นข้อมูลด้วยระบบออนไลน์จากฐานข้อมูลพาณิชย์ โดยผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลของผู้ผลิตหรือแหล่งผลิตได้ด้วยการเชื่อมตรง (On-line)
2. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ในรูปฐานข้อมูลซีดี-รอมฉบับเต็ม (CD-ROM Electronic) เป็นเทคโนโลยีการจัดเก็บ บันทึกข้อมูลในรูปดิจิตอล จัดเป็นสื่อประเภทออปติคอล (Optical media) ที่ใช้แสงเลเซอร์ในการอ่านและบันทึกข้อมูล ซีดี-รอมเป็นสื่อบันทึกข้อมูลชนิดสื่อผสมหรือมัลติมีเดีย (Multimedia) ที่ใช้บันทึกข้อมูลได้ทั้งตัวอักษร ตัวเลข ข้อความ ภาพ สัญลักษณ์ และเสียง
ปัจจุบันวารสารอิเล็กทรอนิกส์ประเภทนี้ มักจัดพิมพ์ควบคู่ไปกับวารสารที่เป็นสิ่งพิมพ์และมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว กล่าวคือ ในปี ค.ศ. 1996 มีวารสารอิเล็กทรอนิกส์ในรูปซีดี-รอม จำนวน 1,963 ชื่อ และในปี ค.ศ. 1998 เพิ่มขึ้นเป็น 2,903 ชื่อ (Ulrich International Perildical Directory 1998 : vii) และผู้ผลิตวารสารอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบนี้ก็กำลังเพิ่มผลผลิตผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อให้สามารถส่งและเผยแพร่สารนิเทศไปยังที่ต่าง ๆ ทั้งใกล้และไกลได้อีกด้วย
3. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบเครือข่าย (Network Electronic Journals) เป็นวารสารในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฉบับเต็มที่เผยแพร่ และให้บริการในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ปัจจุบันวารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่พบในระบบเครือข่าย แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
3.1 วารสารที่มีการเสนอเนื้อหาในลักษณะบทความ ข้อมูลในแต่ละฉบับจะประกอบด้วยบทความจากวารสารต่าง ๆ ซึงอาจจะมีการคัดเลือกบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่โดยมีคณะกรรมการพิจารณา และสามารถบอกรับเป็นสมาชิกวารสารได้เช่นเดียวกับวารสารทางวิชาการที่พิมพ์เผยแพร่ในรูปสิ่งพิมพ์ เช่น วารสาร Interpersonal Computing and Technology (IPCT) ซึ่งเป็นวารสารที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดพิมพ์เผยแพร่โดย Center for Teaching and Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา
3.2 วารสารที่มีการเสนอเนื้อหาในลักษณะจดหมายข่าว เป็นวารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถบอกรับเป็นสมาชิกโดยกลุ่มผู้ใช้บริการข่าวสาร (Listserv) ซึ่งจะให้ข่าวสารข้อมูล และมีการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นซึ่งกันและกันในลักษณะไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ และการประชุมทางไกลด้วยคอมพิวเตอร์
ปัจจุบันจำนวนวารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่เผยแพร่ในระบบเครือข่ายทางวิชาการ มีเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมความรู้ข้อมูล ที่ครอบคลุมสารสนเทศสาขาต่าง ๆ มากมาย ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลด้วยการสืบค้นผ่านระบบ OPAC ของห้องสมุด หรือแหล่งบริการสารสนเทศต่าง ๆ ซึ่งผู้ใช้อาจใช้บริการอินเทอร์เน็ต บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ และเวิล์ด ไวด์ เว็บ ตลอดจนบริการจดหมายข่าวที่ให้บริการจากศูนย์จดหมายข่าว เช่น ListServ,Usenet และ Bitnet เป็นต้น โดยผู้สนใจสามารถโอนย้ายข้อมูล (Download) เหล่านั้นจากสำนักพิมพ์ ผู้ผลิต หรือจากระบบเครือข่ายได้โดยตรง นอกจากนั้น ห้องสมุดก็สามารถทำดรรชนีวารสาร หรือรวบรวมรายชื่อวารสารอิเล็กทรอนิกส์ หรือเว็บไซด์ (Website) ต่าง ๆ เพื่อให้บริการผู้ใช้ต่อไป แหล่งค้นหา http://www.nectec.or.th/schoolnet/library/create-web/10000/generality/10000-12235.html18/07/53

วันจันทร์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ข่าว ประจำสัปดาห์ 1

E-Journals วารสารที่เผยแพร่เฉพาะในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์แสดงนวัตกรรมในชุมชนทางวิทยาศาสตร์ที่มีการสื่อสารข้อมูลเพื่อการวิจัย Significant concerns remain regarding the impermanence of materials in electronic formats and the use of innovative features of electronically formatted material. ที่สำคัญยังคงกังวลเกี่ยวกับการไม่เที่ยงของวัสดุในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์และวัสดุที่ใช้นวัตกรรมของคุณลักษณะรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ของ It has taken some time for the e-only journals to become integrated into scientific information systems, indexed by major services, appear in library catalogs, or cited by other researchers. มีที่บางครั้งสำหรับ e วารสารเท่านั้นเพื่อเป็นรวมอยู่ในระบบข้อมูลทางวิทยาศาสตร์การสร้างดัชนีโดยบริการหลักจะปรากฏในแคตตาล็อกห้องสมุดหรืออ้างถึงโดยนักวิจัยอื่นๆ This article surveys the current place of the e-only journal within the information system. บทความนี้จะสำรวจสถานที่ปัจจุบันของ e วารสารเฉพาะภายในระบบสารสนเทศ
Keywords: electronic journal, e-only journal, indexing, cataloging, citation analysis, scientific communications : อิเล็กทรอนิกส์วารสาร e - เฉพาะดัชนีวารสาร, ลงรายการ, อ้างอิง, การวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์การสื่อสาร Keywords
The use of print journals has developed over several centuries and during that time these journals have evolved in specialized ways to fulfill their primary activities. วารสารใช้การพิมพ์ได้พัฒนาไปหลายศตวรรษและในกิจกรรมที่เหล่านี้เวลาวารสารมีความเชี่ยวชาญในการพัฒนาวิธีการปฏิบัติตามหลักของ Rowland ( 1997 ) describes the four major functions of a scholarly journal as: Rowland ( 1997 ) อธิบายถึงสี่หน้าที่หลักของวารสารวิชาการเป็น :
Dissemination of information เผยแพร่ข้อมูล
Quality control, การควบคุมคุณภาพ
Canonical archives, and เก็บ Canonical และ
Recognition of authors. การรับรู้ของผู้เขียน
Electronic journals were first suggested some years ago as a possible means of revolutionizing the world of research journals. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ได้เสนอแรกปีที่ผ่านมาเป็นวิธีที่เป็นไปได้ของการปฏิวัติวารสารการวิจัยของโลก Electronic journals could be distributed more economically than paper journals, because the main costs of preparing the text, the review process and other like procedures are not as capital intensive as the costs of printing and mailing print copies. วารสารอิเล็กทรอนิกส์สามารถแจกจ่ายต่อเศรษฐกิจกว่าวารสารกระดาษเนื่องจากต้นทุนหลักในการจัดทำข้อความการตรวจสอบและวิธีการอย่างอื่นไม่ได้เป็นเมืองหลวงเข้มเป็นค่าใช้จ่ายในการพิมพ์และส่งจดหมายฉบับพิมพ์ Consequently, it was hoped that the financial costs of journals in the electronic environment could slow or reverse the escalating costs of scientific journals. ดังนั้นก็หวังว่าต้นทุนทางการเงินของวารสารในระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ช้าหรือกลับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นของวารสารวิทยาศาสตร์
Accessing print journal articles has long involved a number of methods including the use of a variety of both specialized and general indexes, library catalogs, references/citing from other articles, and recommendations from readers and colleagues. การเข้าถึงบทความวารสารที่เกี่ยวข้องกับการพิมพ์ได้ยาวจำนวนมากรวมทั้งใช้วิธีการทั่วไปที่หลากหลายทั้งพิเศษและดัชนีแคตตาล็อกห้องสมุดอ้างอิง / อ้างอิงจากบทความอื่น ๆ และข้อเสนอแนะจากผู้อ่านและเพื่อนร่วมงาน When electronic journals first appeared they fell outside the formal communication patterns, especially that of journal indexes and library catalogs. This caused concern about "academic respectability" and "archival access." เมื่อวารสารอิเล็กทรอนิกส์ครั้งแรกพวกเขาจะก้มนอกรูปแบบการสื่อสารอย่างเป็นทางการโดยเฉพาะที่ของดัชนีวารสารและแคตตาล็อกห้องสมุด . นี้เกิดความกังวลเกี่ยวกับ"ความเหมาะสมทางวิชาการ"และ"เข้าถึงจดหมายเหตุ.
Our study hypothesized that for electronic-only journals to become a part of the traditional scholarly system of research they must be included with other journal articles in the major academic indexes, included in library catalogs, and cited by authors in established research journals. จากการศึกษาสมมติฐานที่สำหรับเฉพาะวารสารอิเล็กทรอนิกส์เป็นงานวิจัยแบบวิชาการส่วนของระบบของพวกเขาจะต้องรวมกับบทความอื่น ๆ ในวารสารวิชาการดัชนีที่สำคัญที่รวมอยู่ในแคตตาล็อกห้องสมุดและอ้างโดยผู้เขียนในวารสารการวิจัย We set out to determine: เรากำหนดเพื่อตรวจสอบ :
How many scientific e-only journals existed, จำนวน e - วารสารวิทยาศาสตร์เท่านั้นดำรงอยู่,
If and where scientific e-only journals were being indexed, ถ้าและที่ e - วารสารวิทยาศาสตร์เท่านั้นมีการจัดทำดัชนี
If libraries were cataloging scientific e-only journals, หากห้องสมุดมีลงรายการวิทยาศาสตร์ e - วารสารเท่านั้น
If e-only journals were being cited by researchers, and หากวารสาร e - เท่านั้นมีการอ้างถึงโดยนักวิจัยและ
Whether or not relationships exist among these variables. หรือไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเหล่านี้ แหล่งที่มา 12/07/53http://translate.google.co.th/translate?hl=th&langpair=en%7Cth&u=http://www.istl.org/02-summer/refereed.html